Travel like the wind :สุชาติ ชูลี ยุคสมัยแห่งการขับเคลื่อนด้…
Travel like the wind :สุชาติ ชูลี ท่ามกลางตึกสูงระฟ้าใจกลางเ…
Travel like the wind :สุชาติ ชูลี ในบางมุมที่-มองดูลีลาชีวิต…
พระคุณของแม่ ลึกซึ้งกว่ามหาสมุทร สูงสุดกว่าท้องฟ้า อย่าลืมว่…
Travel like the wind :สุชาติ ชูลี. ท่ามกลางผู้คนมากมายกับควา…
ในหนึ่งวันที่มี ๒๔ ชั่วโมงกับการใช้เวลาเพื่อแลกเปลี่ยนพื้นที…
Travel like the wind by สุชาติ ชูลี. สองฝั่งทางที่รถแล่นผ่าน…
ชีวิตคือการดิ้นรนต่อสู้ไม่รู้จบสิ้น
ทั้งสู้กับคนด้วยกันและสู้กับสภาวะแวดล้อม
คือการต่อสู้ไม่ว่าด้วยกาย
ด้วยปัญญาหรือด้วยจิตใจ
ซึ่งก่อให้เกิดสิ่งใหม่ ความคิดใหม่
การทำลายล้างและสร้างสรรค์เป็นของคู่กัน
แล้วฉันก็เริ่มก้าวย่างสู่โลกแห่งความจริง
ทำชีวิตให้มีค่า เพื่อเธอจะได้ไม่ต้องห่วงและกังวล
นี่คือวิธีบอกรัก เป็นสิ่งสุดท้ายนับจากนี้
เวลาผ่านไปกี่เดือน -กี่ปี
หวังว่าเธอคงรออยู่ที่ปลายทาง
…แด่ความคิดถึงจากก้นบึ้งในจิตใจ
ฝากแม่เจ้าพระยาช่วยกระซิบบอก
ฉันสัญญาว่า..จะดูแลชีวิตที่เธอมอบให้เป็นอย่างดี
นับจากนี้…เป็นต้นไป
สายน้ำคือเส้นทางสัญจรของมนุษย์มาตั้งแต่ดั้งเดิม,
แต่มนุษย์สร้างทางบกขึ้นเพื่อสัญจรได้อย่างรวดเร็วขึ้น
และกำลังทอดทิ้งการเดินทางอันเชื่องช้าด้วยเรือแพนั้นไป
บัดนี้สายน้ำกำลังถนนหนทางทวงทางเดินเก่าแก่ของมัน
ถนนพังทางรถไฟถอนยวงแต่สายน้ำนอนมาอย่างไม่รู้ไม่ชี้
ในวิชาการวิศวกรรมโยธาใด ๆ
มันเป็นลูกทุ่งที่ไม่ได้เข้าโรงเรียน
ไม่รู้จักหลักสูตรบังคับการการศึกษาเบื้องต้น
มันไม่มีหูไม่มีตาไม่มีสมองที่จะเล่าเรียนอบรม
แต่ตระกูลของมันมหึมาคู่โลก
Into the Books
มรรควิถีของจางจื๊อ
เมื่อธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ถอนหายใจ เราได้ยินเสียงลมซึ่งตามปกติแล้วไม่มีเสียง หากเป็นเสียงที่ปลุกสิ่งอื่นๆให้ตื่นขึ้น แล้วพัดพาเอาไปฯ
Travel like the wind : สุชาติชูลี เที่ยวเมืองตะวันออก(ปราจีน…
Travel like the wind เที่ยวเมืองตะวันออก(ปราจีนบุรี )ต…
ห้องโถงอีกฟากตรงข้ามเป็นส่วนที่จัดแสดงนิทรรศการบุคคลสำคัญในป…
ที่โลกเรากำลังลำบากยุ่งยากอยู่เดี๋ยวนี้ มันก็ไม่มีอะไรนอกเหน…
การเดินทางไปที่ใดที่หนึ่งใช้เวลาไปกับสิ่งที่เห็น ปฏิสัมพันธ์…
The art of Life by สุชาติ ชูลี บ่ายวันฝนตกกับบางขณะที่นั่งเป…
การสัญจรรอนแรมไปในลุ่มน้ำโขง ทำให้ผมมองเห็นความแตกต่างหลากหล…
ปลา:ฤดูน้ำหลากล้นเคยวนว่ายน้ำก็หายกลายเป็นหาดอยู่กลาดเกลื่อน…
เจ้านกน้อยยืนแอบร่างที่มุมกรง มองดูท้องฟ้าสีฟ้าสดใสและไม่ร้อ…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ บนเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ เสียงประทัดดังสนั่นกลุ่มควันที…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ การเดินไปยังในสถานที่ใดที่หนึ่…
ความหวั่นไหวโยกโคลงของกาย หรือความหวั่นไหวโยกโคลงของจิตก็ตาม…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ ตะวันยามบ่ายปลายเดือนเมษายนที่…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ “กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว” ประโย…
‘กุหลาบมอญ’ ดอกไม้แห่งการ“ประกาศอิสรภาพ” จากหงสาวดี เป็นของข…
กว้างนักหนอโลกกว้าง ขอที่ทางสักหนึ่งที่ ให้เยาวมาลี ได้เบิกบ…
♣ เรื่องสั้นรอชิงรางวัลกนกพงศ์ สงสมพันธุ์ ล่าสุด!! ♣ เรื่องส…
ประกาศรายชื่อ 9 นักเขียน (10 เรื่องสั้น) เข้ารอบสุดท้าย เพี่…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ บางสิ่งที่ทำลงไปเราเองก็มิอาจม…
Theme / Title : ซอยเล็ก ปัญญาปฏิบัติกว้างใหญ่ : …
ภูมิชีวิตฐานรากอารยสังคมพหุลักษณ์ : พหุลักษณ์ เมือง วัด ชุมช…
บันทึก : อัยย์ รินทร์ ภาพ : จิรา ชุมศรี “โอ้เวียงแว่นฟ้าโยนก…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ “ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกา…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ ถ้าหากปลายทางยังอีกยาวไกล แต่ร…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ “ไม่มีเวลา” คำๆนี้ที่เรามักใช้…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ เรือลำน้อยลอยลัดเลาะร่องน้ำด้ว…
“วัดแค” มีชื่อเดิมว่า “วัดกัมพูชาราม” ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งขึ้…
เรื่องเล่าในลีลาวรรณกรรมแนวสัจนิยมมหัศจรรย์อย่างมีวรรณศิลป์ …
เขาจำได้ว่าคืนนั้นขณะกรีดยาง รับรู้ว่าเมียของเขาซึ่งอยู่อีกแ…
คณะกรรมการคัดเลือกรางวัลซีไรต์ ประจำปี ๒๕๖๖ ได…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ ภายใต้แสงนีออนที่ใช้พลังงานจาก…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ เปาะ เปาะ เปาะ”เสียงเม็ดฝนหล่…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์
นายท้ายเรือเร่งเครื่องฝ่าคลื่นท่ามกลางสายฝนและลมที่พัดโหมกระหน่ำ ภายในเรือมีเพื่อนร่วมชะตาอยู่เต็มลำ
มองหน้าบรรดาทีมงานที่ร่วมเดินทางกันมา ใจหนึ่งก็คิดว่าเราคงเพี้ยนเป็นแน่ แต่อีกใจหนึ่งก็บอกว่านี่เเป็นอีกหนึ่งประสบการณ์ของชีวิต.
หนังสือ“โขง มหานทีแห่งอุษาคเนย์” หนังสือรวมบทกวีประกอบภาพและสุนทรพจน์ของศิลปินแห่งชาติ นักเขียนชื่อดัง ศิลปิน และกวี มากมาย เพื่อแสดงออกถึงพลังอารมณ์ ความรู้สึก ห่วงใยต่อหายนะก่อนจะสิ้นแม่น้ำโขงอันลึกล้ำค้ำคูน เราไม่อยากให้แม่น้ำสายสำคัญหายไปจากเรา และก็ไม่อยากให้ใครสูญสิ้นชีวิตจิตวิญญาณในลุ่มน้ำนั้น
หนูไม่อยากให้โลกนี้มีวันแม่ เพราะมีแต่น้ำตาบนหน้าหนู ครูสั่ง…
คำ : มีนา ฟ้าศุกร์ ภาพ : ศรยุทธ รุ่งเรือง “หอมเอยหอมดอกกระถิ…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ ผ่านพ้นไปกับห้วงยามแห่งความสุข…
ชื่อไพบูลย์ บุตรขัน ฉันจำได้ กรีดหัวใจแต่งเพลงบรรเลงสร้าง เป…
เรื่องและภาพ : ธีรภาพ โลหิตกุล ปางเมื่อพระองค์ปรมพุทธ ธ วิสุ…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ ช่วงเวลาในแต่ละวัน หากมีพื้นที…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ ฝูงปลาแหวกว่ายในน้ำอย่างอิสระ …
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ ถ้าหากปลายทางยังอีกยาวไกล แต่ร…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ แดดอ่อนๆตอนเช้ากลุ่มสาวๆและแม่…
บันทึกคนหลงทาง :อัยย์ รินทร์ “โอ้เวียงแว่นฟ้าโยนกนาคพันธ์ุ ส…
ถ้าทุกคนในชาติจะได้ตั้งตน ตั้งใจอยู่ในความเพียร ประโยชน์และค…
บันทึกคนหลงทาง : อัยย์ รินทร์ ภาพ : ศรยุทธิ์ รุ่งเรือง พื้นร…
ขอเรียนเชิญ ผู้มีใจรักในงานศิลป์เข้าชมนิทรรศการ ๙ ดนตรี ๙ กว…
ใบไม้ที่ร่วงหล่นจากต้นย่อมกลับคืนสู่รากเมื่อฉันมาที่นี่ก็ไม่…
คำ : ชิตะวา มุนินโท. . . ที่ใดมีทุกข์ ที่นั่นมีรัก ที่ใดมีร…
คำ :องอาจ สิงห์สุวรรณ 1-เท้าขีดเส้น เป็นทาง ต้น กลาง ปลายลมข…
๑รุ่งสางวันนั้น ก่อนตะวันสาดแสงอรุโณทัย ข้าพเจ้าเปิดม่านหลัง…
๑.แปลกนะ พอเดินทางมาก ๆ เข้า กลับกลายเป็นเรื่องยาก ที่ข้าพเจ…
“จงช่วยกันรักษามรดกของตระกูล ที่ผู้ใหญ่ได้สร้างสมไว้ให้จนเป็…
ศักดิ์สิริ มีสมสืบคำร้อง: ทำนอง/ ขับร้อง/ เรียบเรียงดนตร…
คำ :ภักดิ์ รตนผล แล้ววันหนึ่งถึงคราพญาอินทรีบินกลับเทือกเขาร…
คำ : โบรญา แก้วศิริกานท์[1] คือหัตถาครองพิภพจบโลกหล้ากล่าวขา…
คำ:นรเศรษฐ์ ทับทิมทองภาพ :ทนงศักดิ์ ทองหยัด เมื่อเอ่ยถึงความ…
โดย : ไพลิน รุ้งรัตน์ จากกรุงเทพฯ มุ่งตรงไปเมืองจันท์ (จันทบ…
คำ : -แม่น้ำ เรลลี่- สายลมพลิ้วพัดมาตรงหน้าต่างแสงแดดอุ่นละม…
คำ : องอาจ สิงห์สุวรรณภาพ :ศิวพงศ์ สิริวันต์ นั่งเขียนหนังสื…
คำ: จรูญพร ปรปักษ์ประลัยภาพ : ทนงศักดิ์ ทองหยัด (๑) ถอดรหัสซ…
เรื่องและภาพ: อัยย์ รินทร์ ภาพที่เราเห็นวันนี้หากย้อนกลับไปใ…
คำ : องอาจ สิงห์สุวรรณภาพ : สุชาติ ชูลี แดดในเดือนกรกฎมิหมดไ…
เรื่อง : อัยย์ รินทร์ หากไม่มุ่งแต่จะให้ถึงจุดหมาย ปล่อยหัวใ…
คำ: อัคระ ธิติถาวร กลับเรือนเยือนดินถิ่นกำเนิดบ้านเก่าบ้านเก…
คำ : พลัง พิรุฬห์ คืนวันคือนิยายอยู่วุ่นวายทุกบทตอนรอเสียงสั…
ขณะยืนพินิจภาพวาดจิตกรรมประชันฝีมือระหว่างสองสุดยอดช่างในสมัยรัชกาลที่ ๓ หลวงวิจิตรเจษฎา (ครูทองอยู่) กับหลวงเสนีย์บริรักษ์ (ครูคงแป๊ะ) ใช้ม่านกั้นเพื่อ ไม่ให้มองเห็นผลงานซึ่งกันและกัน ครูทองอยู่วาดทศชาติ“เนมิราช”ชาดก ส่วนครูคงเขียนภาพทศชาติ ตอน มโหสถชาดก ที่เน้นรายละเอียดผู้คน ทั้งคนไทย จีน ฝรั่ง โดยดัดแปลงเทคนิคแบบจีนมาใช้ ไม่มีคำติดสินที่ว่าใครแพ้ชนะเพราะผลงานอันเอกอุที่ครูทั้งสองได้ทิ้งไว้เป็นอนุสรณ์ นั้นล้ำค่าเกินจะถูกตัดสินให้แพ้-ชนะ